User Name :
Password :
 
ลืมรหัสผ่าน? / สมัครสมาชิก!!!
เมนูหลัก
แบบฟอร์มรายงานต่างๆ
แบบรายงาน SP Truama
แบบรายงาน 19 สาเหตุ
งานยาเสพติด
2 V29 ส่วนที่ 2 การคัดกรองและบำบัดของสาธารณสุข
1 V29 ส่วนที่ 1 ระบบข้อมูลการบำบัดฯ ของอำเภอ
5 คู่มือสมาชิกค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
คู่มือมาตรฐานค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
จัดสรรงบยาเสพติด งวดที่ 2 ปี 62
ทั้งหมด
งานสุขภาพจิต
แบบรายงาน MCATT
เอกสารประกอบการซ้อมแผน MCATT
กลยุทธ์ในการดำเนินการวัยรุ่นและบริการให้คำปรึกษา
ดาวน์โหลดเอกสารงานยาเสพติด และสุขภาพจิต
งานนำเสนอ Template ยาเสพติด
Template ยาเสพติด 62
งานอุบัติเหตุและระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
แบบประเมินระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินชองโรงพยาบาล
แบบสรุปรายงานผลประเมินระบบรักษาพยาบาลของโรงพยาบาล
แนวทางการตรวจราชการปี 61
แบบรายงาน ECS เขต
การบันทึกข้อมูลปฏิบัติการแบบใหม่
ทั้งหมด
ดาวน์โหลดเอกสารการต่ออายุบัตร EMR ,EMT,AEMT
แบบยื่นคำขอต่ออายุใบประกาศ/บัตร
แบบฟอร์มการรับรองคุณสมบัติของผู้ยื่นต่ออายุ
แบบฟอร์มแสดงผลการปฏิบัติการฉุกเฉิน AEMT
แบบฟอร์มการปฏิบัติการฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล (EMR)
แบบฟอร์มการปฏิบัติการฉุกเฉินในโรงพยาบาล (EMR)
ทั้งหมด
งานเฝ้าระวังเด็กจมน้ำ
เกณฑ์ประเมินผู้ก่อการดี
รายงานสอบสวนเจมน้ำทุกกรณี
สรปเกณฑ์ประเมิน ประเมินตนเอง
แนวทางสำหรับผู้ขอรับรองเป็นผู้ก่อการดี
แบบประเมินตนเองผู้ก่อการดี
งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD
รายงาน STEMI ปี 2563
HDC_NCD2019
แนวทางการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยงและจัดการควบคุมความเสี่ยง เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ เบาหวาน ความดัน
คู่มือบริหารจัดการงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง SI3M
แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ทั้งหมด
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประชุมงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD
NCD KPI Monitor
ตัวชี้วัด_62
ข้อมูล HDC_NCD2019
สถานการ NCD 61
ชี้แจง KPI Template MOU
ทั้งหมด
งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบ
แนวทางสู่ความสำเร็จในการควบคุมยาสูบ
มาตรการเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่
แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ
เด็กไทยคิดอย่างไร..............กับการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ
แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์นโยบาบแอลกอฮอล์ระดับชาติ
ทั้งหมด
โรคต้อกระจก (Cataract)
แบบบันทึกการตรวจคัดกรองต้อกระจก
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยต้อกระจกเพื่อรับการผ่าตัด
แนวทางปฏิบัติการคัดกรองสายตาผู้สูงอายุ
แนวทางการวัด VA
สาขาไต
โครงการลดเค็ม อยุธยา
โปรแกรมคำนวณสารอาหาร
อาหารผู้ป่วย HD PD
ประเมินภาวะโภชนาการ_CKD_clinic
ชะลอไตเสี่อม
ทั้งหมด
โรคมะเร็ง
แนวทางการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA test
แนวทางการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรงมะเร็งรังไข่
แนวทางการตรวจคัดกรองวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี
ความรู้เรื่องมะเร็ง (เนื้อหาใช้อบรมวันที่ ๒๕ พ.ค. ๕๙)
แนวทางการตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคมะเร็งต่อมไทรอยด์
ทั้งหมด
คู่มือ ดาวน์โหลด NCD หลักสูตรการสร้างแรงจูงใจ
Module 5_แนวทางการออกกำลังเฉพาะโรค หาดใหญ่.pdf
Module 4_OARS.pdf
Module 05_Ntr DM HTN CKD finalอ.ชนิดา.pdf
Module 4_MI.pdf
Module 3_SDT&TTM.pdf
ทั้งหมด
เอกสารประกอบ โครงการ HbpM
เอกสาร NCD Clinic Plus
ชี้แจ้งโครงการ HbpM
เอกสารนำเสนอ
ประเด็นข่าวเด็ด / เกร็ดความรู้ > เตือนใช้โทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนฟ้าคะนองโอกาสถูกฟ้าผ่าสูง
 
เตือนใช้โทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนฟ้าคะนองโอกาสถูกฟ้าผ่าสูง
 

เตือนใช้โทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนฟ้าคะนองโอกาสถูกฟ้าผ่าสูง   “เลขาธิการ สพฉ.” สอนการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยการช่วยฟื้นคืนชีพตามจังหวะเพลง เพื่อเพิ่มโอกาสรอดชีวิต ระบุหากอยู่ในที่โล่งแจ้งต้องหาทางหลบเข้าอาคารหรือที่ปลอดภัย

 

ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือ ถือเป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์จำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา แต่การใช้โทรศัพท์มือถือในช่วงฤดูฝน ขณะที่เกิดฝนฟ้าคะนอง และอยู่ในที่โล่งแจ้ง ควรเพิ่มความระมัดระวังเป็นพิเศษ เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการโดนฟ้าผ่าค่อนข้างมาก  เพราะการใช้โทรศัพท์มือถือจะเหนี่ยวนำเข้ากระแสไฟฟ้ามายังเสาอากาศขณะมีการใช้งาน เช่นเดียวกันกับโลหะต่างๆ อาทิ ทองคำ เงิน นาก ที่จะกลายเป็นตัวเหนี่ยวนำกระแสไฟฟ้าก่อให้เกิดฟ้าผ่า

แต่อย่างไรก็ดีไม่ใช่ว่าทุกคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ขณะที่เกิดฝนฟ้าคะนอง จะต้องโดนฟ้าผ่า เนื่องจากจะต้องมีองค์ประกอบอื่นๆ  ที่เหมาะสมด้วย เช่น อยู่ในที่โล่งแจ้ง  อยู่ใกล้ต้นไม้สูง หรือก้อนเมฆในบริเวณนั้นมีประจุไฟฟ้าสะสมไว้มากหรือไม่ แต่ทั้งนี้ก็ไม่ควรประมาท และการหลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือ ไม่ว่าจะเป็นการโทรศัพท์หรือเล่นอินเตอร์เน็ตซึ่งจะทำให้เราปลอดภัยมากที่สุด

นพ.อนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)  กล่าวถึงการป้องกันการถูกฟ้าผ่าจากการใช้โทรศัพท์ ว่า หากอยู่ในที่โล่งให้หาที่หลบที่ปลอดภัย หลีกเลี่ยงการหลบบริเวณใต้ต้นไม้หรือสิ่งปลูกสร้างที่ไม่มั่นคงแข็งแรงและไม่ได้ยึดติดกับพื้นอย่างแน่นหนาเพื่อป้องกันอันตรายจากการถูกล้มทับ  หากหาที่หลบไม่ได้ไม่ได้ให้หมอบนั่งยองๆ ให้ตัวอยู่ต่ำที่สุด นอกจากนี้ให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสิ่งนำไฟฟ้าทุกชนิด อาทิ เงิน ทอง นาค และหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้สายไฟ หรือสัมผัสน้ำโดยเด็ดขาด

อย่างไรก็ตามหากพบผู้ป่วยฉุกเฉินที่ถูกฟ้าผ่า ควรปฏิบัติดังนี้    1. รีบโทรแจ้งสายด่วน 1669 2. ให้สังเกตว่า ในบริเวณที่เกิดเหตุยังมีความเสี่ยงต่อการถูกฟ้าผ่าหรือไม่ ถ้ามีต้องทำการเคลื่อนย้ายผู้ถูกฟ้าผ่าไปยังตำแหน่งที่ปลอดภัย เพื่อป้องกันตัวเราเองจากการถูฟ้าผ่าซ้ำ3. เราสามารถแตะต้องตัวผู้ถูกฟ้าผ่าได้ทันที เนื่องจากคนที่ถูกฟ้าผ่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหลงเหลืออยู่ในตัว ดังนั้น จึงไม่ต้องกลัวว่าเราจะถูกไฟฟ้าดูดไปด้วย  

4. หากผู้ถูกฟ้าผ่าได้รับบาดเจ็บหมดสติไม่รู้ตัว หัวใจหยุดเต้น และไม่หายใจ ซึ่งสังเกตได้จากอาการที่เกิดขึ้น คือ ริมผีปากเขียว สีหน้าซีดเขียวคล้ำ ทรวงอกเคลื่อนไหวน้อยมากหรือไม่เคลื่อนไหว หัวใจหยุดเต้นจะคลำชีพจรไม่พบ  หมดสติไม่รู้สึกตัว ต้องรีบช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ หรือ CPR ตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ โดยจัดให้ผู้ป่วยนอนหงายบนพื้นแข็ง จากนั้นให้ผู้ช่วยเหลือนั่งคุกเข่าอยู่ทางด้านข้างของผู้ป่วย·        วางส้นมือลงไปตามแนวกึ่งกลางของหน้าอกหรือกึ่งกลางระหว่างหัวนมทั้งสองข้างของผู้ป่วยแล้วนำมืออีกข้างมาประกบ ประสานนิ้วและทำการล๊อคนิ้ว กระดกข้อมือขึ้นลง โดยให้สันมือสัมผัสกับหน้าอกเท่านั้น

จากนั้นโน้มตัวมาให้แนวแขนตั้งฉากกับหน้าอกของผู้ป่วย  แขนตรงและดึง ออกแรงกดลงไปโดยใช้แรงจากหัวไหล่ กดให้หน้าอกยุบลงไปอย่างน้อย 5 เซนติเมตร โดยให้สันมือสัมผัสกับหน้าอกผู้ป่วยตลอด ด้วยความเร็ว 100 ครั้งต่อหน้าที”