หน้าหลัก ติดต่อเรา
  User Organizer
User Name :
Password :
 
ลืมรหัสผ่าน?
  เมนูหลัก
  โครงสร้างงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ... 1
สถิติข้อมูลเพื่องานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และโรงงานอุตสาหกรรม
1. งานสุขาภิบาลอาหาร, Clean Food Good Taste
3. งานตรวจสอบเหตุร้องเรียน
4. งานพัฒนาส้วมสาธารณะ
5. งานอาชีวอนามัย ภาคเกษตรกรรม ***
6. งานตลาดสดน่าซื้อ
7. งานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
8. งานพัฒนาผู้ประกอบการโต๊ะจีน
9. งานสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน
10. งานส่งเสริมมาตรการใช้กฏหมายสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ทั้งหมด
  โครงสร้างงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ... 2
_โครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
11. งานประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA)
12. การพัฒนามาตรฐานอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล
13. งานสุขาภิบาลโรงแรม, หอพัก, สถานบันเทิง
14. งานเฝ้าระวังน้ำบริโภค, ประปาดื่มได้
15. งานอาชีวอนามัย ภาคอุตสาหกรรม
16. งานเตรียมความพร้อมกรณีสารเคมีรั่วไหลและเหตุภัยพิบัติ
17. โครงการสถานบริการสาธารณสุขลดภาวะโลกร้อน
18. งานพัฒนาสถานบริการเชื้อเพลิง, ปั๊มน้ำมัน
ทั้งหมด
  ค่ามาตรฐานอนามัยสิ่งแวดล้อม (อากาศ น้ำ เสียง แสง ฯลฯ)
1.1มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป
1.2มาตรฐานคุณภาพอากาศภายนอกอาคาร
1.3มาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคาร
2.1เกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค
2.2มาตรฐานคุณภาพน้ำดืมในภาชนะบรรจุปิดสนิท
2.3มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลและน้ำประปาที่ใช้บริโภค
3.1เกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม
3.2มาตรฐานการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด
3.3มาตรฐานการระบายน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
3.4มาตรฐานการระบายน้ำทิ้งจากสถานประกอบการ
ทั้งหมด
  งานส่งเสริมป้องกันโรคและตรวจสุขภาพผู้ประกันตน
8 สิงหาคม 2555....สปสช.แจ้งโอนเงินค่าบริการทางการแพทย์ให้จังหวัดฯ อีก 466,125 บาท เพื่อเบิก-จ่ายในโครงการฯ ต่อไป (15 สิงหาคม 2555)
รายงาน_ผลตรวจสุขภาพกลุ่มประกันสังคม_2554
ผลการตรวจร่างกายผู้ประกันตน รพ.ราชธานี เบิกเงินงวดแรก 31 สิงหาคม 2554
สรุปผลการตรวจร่างกายผู้ประกันตน รพ.พระนครศรีอยุธยา เบิกเงินงวดแรก 24 สิงหาคม 2554
สสจ.สระบุรี และ สปสช.แจ้งจะจัดสรรเงินให้จังหวัดฯ อีก 340,000 บาทในการจัดทำฐานข้อมูลโรงงานและความเสี่ยงด้านสารเคมีและวัตถุอันตราย เพื่อรองรับอุบัติเหตุฉุกเฉิน...
แผนตรวจสุขภาพผู้ประกันตน รพ.พระนครศรีอยุธยา เดือน กันยา-ตุลาคม 2554
ล่าสุด !...9 ส.ค.54 สสจ. ได้รับงบฯ โอนมาแล้ว จำนวน 4,252,875 บาท
ขอแจ้งอนุมัติงบโครงการฯ ให้ดำเนินการและรายงานผล ดังรายละเอียด...
แผนออกตรวจ ฯ ของ รพ.เสนา
แผนออกตรวจ ฯ ของ รพ.ราชธานี_2
ทั้งหมด
  งานอาชีวอนามัย : เครือข่ายคลินิคโรคจากการทำงาน
รายชื่อสถานพยาบาลที่ให้บริการตรวจสุขภาพ 326 แห่ง : แนวทางการตรวจสุขภาพในสถานประกอบการ
คลินิกโรคจากการทำงาน,โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์, โรงพยาบาลเสนา
ทั้งหมด
ข่าว/ประกาศ > รายละเอียดของข่าว
 
รายละเอียดของข่าว
หัวข้อประกาศแนวทางการดำเนินงานภายหลังน้ำลด กระทรวงฯ 
รายละเอียด

หลักการ

 

-          การจัดการที่เหมาะสมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม  คลอบคลุม 6 ประเด็น  ดังนี้

 

1.      การสุขาภิบาลน้ำสะอาด คือการจัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภค ควรมีการเติมคลอรีน และแกว่งสารส้มกรณีน้ำขุ่นเพื่อการฆ่าเชื้อโรค

 

2.      การจัดการมูลฝอย  อาจแยกทำเป็นถังหมักขยะอินทรีย์เพิ่อเป็นปุ๋ย ส่วนขยะประเภทอื่นให้คัดแยกและรวบรวมเพื่อนำไปกำจัด  ส่วนบ่อขยะควรได้มีการฉีดพ่น EM. เพื่อการย่อยสลายที่เร็วขึ้นและกำจัดกลิ่น  

 

3.      การกัดจัดสิ่งปฏิกูลที่อยู่ในรูปของส้วมลอยน้ำ และระบบบำบัดน้ำเสียได้แก่ ส้วมลอยน้ำ หรือส้วมประเภทอื่นควรได้ใส่คลอรีนฆ่าเชื้อโรคก่อนนำไปกำจัดให้ถูกต้อง

 

4.      การควบคุมป้องกันแมลงและพาหะนำโรค ต้องใช้สารเคมีฉีดพ่นเพื่อกำจัดหนอนพยาธิของแมลงวัน  ควบคู่ไปกับการจัดสภาพแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงและพาหะนำโรค

 

5.      การสุขาภิบาลอาหาร  การรณรงค์ล้างตลาดด้วยคลอรีน หรือ EM. เน้นสุขวิทยาส่วนบุคคลสำหรับร้านจำหน่ายอาหาร    อาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิท ต้องระมัดระวังการปนเปื้อน โดยการสุ่มตรวจสอบการปนเปื้อนแบคทีเรียในกาหารสดและตรวจสอบการปนเปื้อนและวันหมดอายุของอาหารแห้ง

 

6.      การสุขาภิบาลที่พักอาศัย การจัดที่พักอาศัยชั่วคราวที่เหมาะสม  มีการแบ่งพื้นที่ใช้งานเป็นสัดส่วน  สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่อาจเกิดขึ้นได้

 

7.      สุขวิทยาส่วนบุคคล  เน้นการประชาสัมพันธ์ กินร้อน ช้อนกลาง  ล้างมือ  ประชาชนมีส่วนสำคัญในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม  ต้องมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ  วิธีการฆ่าเชื้อโรคที่ปนเปื้อนมากับอาหารและน้ำ  ตลอดจนการทดสอบการปนเปื้อนเชื้อโรคเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและโรคติดต่อที่มากับน้ำ

 

 

มาตรการฟื้นฟูหลังน้ำลดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

1.      เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการระบุพื้นที่ดำเนินการ และร่วมปฏิบัติการฟื้นฟู

 

2.      พื้นที่ดำเนินการ 

 

2.1     ครัวเรือน

 

2.2     แหล่งสาธารณะ

 

      3.  มาตรการดำเนินการ  ดังนี้

ลำดับ

 

พื้นที่ดำเนินการ

 

มาตรการ

 

1.

 

ครัวเรือน

 

 

 

-ที่พักอาศัย

 

พ่นหมอกควันฆ่ายุง

 

 

 

ใส่ทรายอะเบตที่จุดน้ำท่วมขัง

 

 

-ห้องน้ำ ห้องส้วม

 

ประชาชนได้รับ EM เติมในโถส้วม

 

 

-แหล่งน้ำดื่มน้ำใช้

 

สุ่มตรวจเชื้อแบคทีเรีย  โดยใช้ชุดทดสอบ

 

 

 

สุ่มตรวจระดับคลอรีนในน้ำ

 

 

 

ประชาชนได้รับสารส้มลดความขุ่นในน้ำ

 

 

-อาหาร

 

สุ่มตรวจเชื้อแบคทีเรีย โดยใช้ชุดทดสอบ

 

2.

 

แหล่งสาธารณะ

 

 

 

-แหล่งน้ำ

 

ตรวจระดับคลอรีน

 

 

-บ่อน้ำ

 

ตรวจเชื้อแบคทีเรีย โดยใช้ชุดทดสอบ

 

 

 

ล้างบ่อ

 

 

 

ใส่คลอรีนในน้ำ

 

 

-ระบบประปาชุมชน

 

ตรวจระดับคลอรีน

 

 

 

ตรวจเชื้อแบคทีเรีย

 

 

 

ใส่คลอรีนในน้ำ

 

 

 

ใส่สารส้มในแอ่งพักน้ำ

 

 

-แหล่งน้ำท่วมขัง

 

ใส่ EM + ปูนขาว

 

 

- บ่อขยะ  กองขยะ และสิ่งปฏิกูล

 

กำจัดขยะ  สิ่งปฏิกูล

 

 

 

โรยปูนขาว

 

 

 

ใส่ EM

 

 

 

พ่นยาไตรคอลฟอน 95% SP กำจัดไข่แมลงวัน/ควบคุมโรค

 

 

- ตลาด

 

ตรวจเชื้อแบคทีเรียในอาหารและน้ำ

 

 

 

ล้างตลาด

 

 

 

ใส่คลอรีน

 

 

4. คู่มือแนวทางปฏิบัติ

 

          4.1 แนวทางปฏิบัติสำหรับหน่วยงานงานสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(ตามแนวทางการฟื้นฟู)

 

          4.2 แนวทางปฏิบัติสำหรับประชาชน (เล่มส้มเหลือง)

 

 

 

 

………../3

 

- 3 -

 

5. รายละเอียดมาตรการดำเนินงาน

 

พื้นที่ดำเนินงาน

 

รายละเอียดมาตรการดำเนินงาน

 

1. น้ำใช้ครัวเรือน

 

-แจกคลอรีนน้ำ(หยดทิพย์)ให้ประชาชน

 

-หยอดทิพย์ 1 ขวด จำนวน 100 ซีซี,ใช้ 1 หยด ต่อน้ำ 1 ลิตร

 

2. ห้องส้วม

 

-แจก EM ซอง ขนาด 10 กรัม ให้ประชาชนพร้อมคำแนะนำการใช้

 

-เติม EMซอง จำนวน 5 กรัม ใส่โถส้วม โดยปกติสามารถใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง

 

-แจกถุงดำเล็กให้ประชาชนพร้อมคำแนะนำในการใช้ส้มเก้าอี้ ,ส้วมกระป๋อง

 

3. ตรวจสอบความสะอาดอาหารและน้ำ

 

-สุ่มตรวจเชื้อแบคทีเรีย (ใช้น้ำยา SI – 2)

 

-สอบสาวนการปนเปื้อนเชื้อ

 

-กำจัดแหล่งการปนเปื้อน

 

4. ตรวจสอบคุณภาพน้ำ

 

- ตรวจวัดระดับคลอรีนในน้ำ

 

5. กำจัดความขุ่นของน้ำในครัวเรือนและจุดพักน้ำของระบบประปาชุมชน

 

-ใส่สารส้ม

 

6. บ่อน้ำ

 

-ล้างบ่อน้ำตามแนวทางของกรมอนามัย

 

-ใส่คลอรีน (1 เม็ด หรือ ½ ช้อนชา ต่อน้ำ 1,000 ลิตร หรือคลอรีนผง

 

1 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 10 ปีบ (โดยใส่ผงปูนคลอรีนในน้ำ 1 ขันพลาสติด ใส่คลอรีน  1 ช้อนโต๊ ละลายลงในขัน รอให้ตกตะกอน นำเฉพาะน้ำใสใส่ลงในบ่อน้ำ

 

7.ระบบประปาชุมชน

 

-ใส่คลอรีนผงชนิด 60% ตามปริมาณน้ำ ดังนี้

 

 7.1 ปริมาณน้ำ 50 ลิตร ต่อน้ำ 2 กระป่องครึ่ง (กระป๋องนมข้นหวาน  =420 กรัม)

 

-ตรวจคลอรีนอิสระหลงเหลือในระบบน้ำประปาต้องมีคลอรีนตกค้าง 0.2-.03 พี.พี.เอ็ม.

 

8.แหล่งน้ำท่มขัง

 

-ใส่ EM ผง

 

-หรือใส่ EM Ball ในพื้นที่น้ำท่มขังจนเกิดกลิ่นเหม็น

 

9.ตลาด

 

-ล้างตลาดโดยใช้คลอรีนหรือEM.

 

10.กองขยะและสิ่งปฏิกูล

 

-กำจัดขยะ สิ่งปฏิกูลโดยใส่ปูนขาว และฉีดพ่นด้วยไตรโคลฟรอน หรือ ฉีดพ่นด้วยน้ำคลอรีน หรือฉีดพ่นด้วย EM.ผสมน้ำ

 

11.กำจัดยุง

 

-กำจัดขยะ

 

-ใส่ทรายอะเบท

 

-พ่นหมอกควัน

 

-ประชาชนใช้ยากันยุง เดลต้ามิทริน 0.5%

 

 

 

 
ผู้ประกาศ 
เมื่อวันที่12 พ.ย.53 09:09 

Copyright © 2009 www.ayph.in.th, All rights reserved.license agreement Version : 1.0