User Name :
Password :
 
ลืมรหัสผ่าน? / สมัครสมาชิก!!!
เมนูหลัก
แบบฟอร์มรายงานต่างๆ
แบบรายงาน SP Truama
แบบรายงาน 19 สาเหตุ
งานยาเสพติด
2 V29 ส่วนที่ 2 การคัดกรองและบำบัดของสาธารณสุข
1 V29 ส่วนที่ 1 ระบบข้อมูลการบำบัดฯ ของอำเภอ
5 คู่มือสมาชิกค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
คู่มือมาตรฐานค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
จัดสรรงบยาเสพติด งวดที่ 2 ปี 62
ทั้งหมด
งานสุขภาพจิต
แบบรายงาน MCATT
เอกสารประกอบการซ้อมแผน MCATT
กลยุทธ์ในการดำเนินการวัยรุ่นและบริการให้คำปรึกษา
ดาวน์โหลดเอกสารงานยาเสพติด และสุขภาพจิต
งานนำเสนอ Template ยาเสพติด
Template ยาเสพติด 62
งานอุบัติเหตุและระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
แบบประเมินระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินชองโรงพยาบาล
แบบสรุปรายงานผลประเมินระบบรักษาพยาบาลของโรงพยาบาล
แนวทางการตรวจราชการปี 61
แบบรายงาน ECS เขต
การบันทึกข้อมูลปฏิบัติการแบบใหม่
ทั้งหมด
ดาวน์โหลดเอกสารการต่ออายุบัตร EMR ,EMT,AEMT
แบบยื่นคำขอต่ออายุใบประกาศ/บัตร
แบบฟอร์มการรับรองคุณสมบัติของผู้ยื่นต่ออายุ
แบบฟอร์มแสดงผลการปฏิบัติการฉุกเฉิน AEMT
แบบฟอร์มการปฏิบัติการฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล (EMR)
แบบฟอร์มการปฏิบัติการฉุกเฉินในโรงพยาบาล (EMR)
ทั้งหมด
งานเฝ้าระวังเด็กจมน้ำ
เกณฑ์ประเมินผู้ก่อการดี
รายงานสอบสวนเจมน้ำทุกกรณี
สรปเกณฑ์ประเมิน ประเมินตนเอง
แนวทางสำหรับผู้ขอรับรองเป็นผู้ก่อการดี
แบบประเมินตนเองผู้ก่อการดี
งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD
รายงาน STEMI ปี 2563
HDC_NCD2019
แนวทางการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยงและจัดการควบคุมความเสี่ยง เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ เบาหวาน ความดัน
คู่มือบริหารจัดการงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง SI3M
แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ทั้งหมด
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประชุมงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD
NCD KPI Monitor
ตัวชี้วัด_62
ข้อมูล HDC_NCD2019
สถานการ NCD 61
ชี้แจง KPI Template MOU
ทั้งหมด
งานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบ
แนวทางสู่ความสำเร็จในการควบคุมยาสูบ
มาตรการเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่
แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ
เด็กไทยคิดอย่างไร..............กับการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ
แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์นโยบาบแอลกอฮอล์ระดับชาติ
ทั้งหมด
โรคต้อกระจก (Cataract)
แบบบันทึกการตรวจคัดกรองต้อกระจก
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยต้อกระจกเพื่อรับการผ่าตัด
แนวทางปฏิบัติการคัดกรองสายตาผู้สูงอายุ
แนวทางการวัด VA
สาขาไต
โครงการลดเค็ม อยุธยา
โปรแกรมคำนวณสารอาหาร
อาหารผู้ป่วย HD PD
ประเมินภาวะโภชนาการ_CKD_clinic
ชะลอไตเสี่อม
ทั้งหมด
โรคมะเร็ง
แนวทางการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA test
แนวทางการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรงมะเร็งรังไข่
แนวทางการตรวจคัดกรองวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี
ความรู้เรื่องมะเร็ง (เนื้อหาใช้อบรมวันที่ ๒๕ พ.ค. ๕๙)
แนวทางการตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคมะเร็งต่อมไทรอยด์
ทั้งหมด
คู่มือ ดาวน์โหลด NCD หลักสูตรการสร้างแรงจูงใจ
Module 5_แนวทางการออกกำลังเฉพาะโรค หาดใหญ่.pdf
Module 4_OARS.pdf
Module 05_Ntr DM HTN CKD finalอ.ชนิดา.pdf
Module 4_MI.pdf
Module 3_SDT&TTM.pdf
ทั้งหมด
เอกสารประกอบ โครงการ HbpM
เอกสาร NCD Clinic Plus
ชี้แจ้งโครงการ HbpM
เอกสารนำเสนอ
ประเด็นข่าวเด็ด / เกร็ดความรู้ > ภัยเงียบ! กล่องโฟมต้นตอมะเร็งสูงกว่าปกติ 6 เท่า
 

ภัยเงียบ! กล่องโฟมต้นตอมะเร็งสูงกว่าปกติ 6 เท่า

มีผลการวิจัยออกมาว่า ส่วนคนทั่วไปถ้ารับประทานอาหารกล่องโฟมทุกวัน วันละอย่างน้อย 1 มื้อ ติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งสูงกว่าคนปกติถึง 6 เท่า และเป็นสารก่อมะเร็งถึง 3 ชนิด

กล่องโฟมที่ใช้ตามท้องตลาดทั่วไป (Styrofoam) เป็นของเสียเหลือทิ้งสีดำๆ จากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ประกอบด้วย สารสไตรีน (Styrene) มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในเพศหญิง

อาหารตามสั่งที่บรรจุกล่องโฟม จึงเป็นแหล่งสะสมสารสไตรีน ซึ่งเป็นสารที่ออกฤทธิ์ทำให้ สมองมึนงง สมองเสื่อมง่าย หงุดหงิดง่าย มีผลทำให้ประจำเดือนมาไม่ปกติ และเป็นสารก่อมะเร็งอีก 3 ชนิด ถ้าเป็นผู้ชายรับประทานเข้าไปมากๆ มีโอกาสเสี่ยงเป็น โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ขณะที่ผู้หญิงมีโอกาสเป็น มะเร็งเต้านม และทั้งสองเพศมีโอกาสสูงต่อการเป็น มะเร็งตับ แม้จะไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำก็ตาม

สำหรับ “สไตรีน” ถือเป็นสารอันตรายที่สหรัฐฯ เพิ่งประกาศขึ้นบัญชีสารก่อมะเร็ง หญิงมีครรภ์ที่รับประทานอาหารบรรจุในกล่องโฟม ลูกมีโอกาสสมองเสื่อมเป็นเอ๋อ อวัยวะบางส่วนพิการ ส่วนคนทั่วไปถ้ารับประทานอาหารกล่องโฟมทุกวัน วันละอย่างน้อย 1 มื้อ ติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งสูงกว่าคนปกติถึง 6 เท่า

ทั้งนี้ ผู้บริโภคมีโอกาสได้รับสารสไตรีนในกล่องโฟมได้ง่ายถึง 5 ปัจจัยได้แก่

  1. อุณหภูมิที่ร้อนขึ้นหรือเย็นลง ทำให้สไตรีนซึมเข้าสู่อาหารได้สูง
  2. ถ้าปรุงอาหารโดยใส่น้ำมัน น้ำส้มสายชูแอลกอฮอล์ จะดูดสารสไตรีนจากกล่องโฟมได้มากกว่าปกติ
  3. ถ้าซื้ออาหารใส่กล่องทิ้งไว้นานๆ ไม่ได้รับประทาน อาหารจะดูดสารสไตรีนได้มาก
  4. ถ้านำอาหารที่บรรจุโฟมเข้าไมโครเวฟ สไตรีนจะไหลออกมาในปริมาณมาก
  5. ถ้าอาหารสัมผัสพื้นที่ผิวกล่องโฟมมากๆ รวมถึงร้านไหนตัดถุงพลาสติกใสรองอาหาร ขอบอกว่าได้รับสารก่อมะเร็ง 2 เด้ง ทั้งสไตรีนและไดออกซินจากถุงพลาสติกเลยทีเดียว

อาหารกล่องโฟม

อาหารตามสั่งหรือข้าวราดแกงกับไข่ดาวหรือไข่เจียวร้อนๆ อาจจะไปละลายผนังกล่องโฟม เสมือนรับประทานอาหารคลุกสไตรีนไปด้วย ถึงกระนั้นไข่ดิบที่วางขายในแผงไข่พลาสติก สารสไตรีนมีโอกาสวิ่งเข้าในเปลือกไข่ได้เช่นกัน ถ้าเลือกไข่ดิบควรเลือกซื้อจากแผงไข่กระดาษจะปลอดภัยที่สุด

ข้อมูล นพ.วีรฉัตร กิตติรัตนไพบูลย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์ บริษัทบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม